Show simple item record

Share 
 
dc.contributor.authorปุจฉาการ, สุเมตต์
dc.contributor.authorอุปนันท์, พัชรญา
dc.date.accessioned2020-04-15T07:11:26Z
dc.date.available2020-04-15T07:11:26Z
dc.date.issued2013-12
dc.identifier.citationปุจฉาการ, ส., & อุปนันท์, พ. (2013). ความหลากหลายของสัตว์หน้าดินขนาดใหญ่โดยการลากคราดในอ่าวไทย. การสัมมนาวิชาการเรื่อง ผลการสำรวจทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณอ่าวไทยตอนกลางโดยเรือสำรวจซีฟเดค ปี 2556 (pp. 164-186). สมุทรปราการ: สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.en
dc.identifier.isbn978-616-382-228-4
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/20.500.12067/1198
dc.description.abstractจากการศึกษาความหลากหลายทางชนิดและปริมาณของสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่ โดยใช้คราด ในอ่าวไทย ปีพ.ศ. 2556 ได้ดำเนินการสำรวจและเก็บตัวอย่างทั้งสิ้น จำนวน 24 สถานี จาก 45 สถานีที่มีการลงเครื่องมือประมงโดยเรือสำรวจ “ซีฟเดค” ระหว่างวันที่ 14 มีนาคม ถึง 12 เมษายน พ.ศ. 2556 โดยวิธีการลากคราดขนาด 150x50 เซนติเมตร ยาว 3 เมตร ขนาดตาข่าย 1 เซนติเมตร โดยนำข้อมูลที่ได้จากการสำรวจมาวิเคราะห์หาค่าดัชนี ได้แก่ ค่าดัชนีความเท่าเทียม (Evenness index), ดัชนีความมากชนิด (Richness index), ดัชนีความหลากหลายของชนิดพันธุ์ (Diversity index) และการวิเคราะห์การจัดกลุ่มความคล้ายคลึงของสิ่งมีชีวิต (Similarity analysis) ผลการศึกษาพบสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดใหญ่จำนวน 8 ไฟลัม จำนวน 79 วงศ์ ในจำนวนนี้พบสัตว์ทะเลหน้าดินที่เป็นกลุ่มเด่น 3 ไฟลัม 1.) ไส้เดือนทะเล, Annelida พบ 27 วงศ์ 2.) หอย, Mollusca พบ 14 วงศ์ และ 3.) เอคไคโนเดิร์ม, Echinodermata พบ 11 วงศ์ ในจำนวนนี้กลุ่มสัตว์ทะเลหน้าดินที่พบเป็นชนิดเด่นคือ ดาวเปราะวงศ์ Amphiuridae รองลงมาคือ กุ้งทะเลวงศ์ Penaeidae รองลงมาคือไส้เดือนทะเล วงศ์ Terebellidae และปูเสฉวนวงศ์ Diogenidae สถานีที่มีความหลากหลายทางปริมาณของสัตว์ทะเลหน้าดินมากที่สุดคือ สถานีที่ 45 มีค่าเท่ากับ 2.544 (บริเวณไหล่ทวีป), สถานีที่ 8 มีค่าเท่ากับ 2.502 (บริเวณกะส้าหอย), สถานีที่ 14 มีค่าเท่ากับ 2.438 (บริเวณไหล่ทวีปทับซ้อนของอ่าวไทย) และสถานีที่ 3 มีค่าเท่ากับ 2.397 (บริเวณนอกชายฝั่งระยอง) The diversity of marine macro-benthic animals from the specimens were collected by dredging from 24 stations during 14 March–12 April 2013 by M.V.SEAFDEC cruise. A dredge with a 150 x 50 cm opening on a 3-m body of 1-cm mesh size net was towed at 24 stations for 15 minutes each while the vessel was drifting. Each sample was sifted by a sieve with 1 mm mesh size. In this analysis consist of Evenness index, Richness index, Diversity index and Similarity analysis. Eight Phylum and 79 families of macro-benthic animals were found. Out of these, the dominant animals were 3 Phylum as follows: Phylum Annelida consist of 27 families, Phylum Mollusca consist of 14 families and Phylum Echinodermata consist of 11 families. The most abundant animals were Ophiuroidea (Amphiuridae), followed by Crustacean (Penaeidae) and Annelida (Terebellidae and Nephtyidae) and Crustacean (Diogenidae). The most abundance station was GT-45 = 2.544 (continental shelf), GT-8 = 2.502 (boundary of coquina), GT-14 = 2.438 (continental shelf) and GT-3 = 2.397 (Off-shore of Rayong province)en
dc.description.sponsorshipบริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)en
dc.language.isothen
dc.publisherสำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้en
dc.subjectสัตว์ทะเลหน้าดินen
dc.subjectคราดen
dc.subjectไส้เดือนทะเลen
dc.subjectเอคไคโนเดิร์มen
dc.subjectฟองน้ำen
dc.subjectอ่าวไทยen
dc.subjectBenthicen
dc.subjectMarine benthicen
dc.subjectDredgeen
dc.subjectAnnelidaen
dc.subjectEchinodermataen
dc.subjectPoriferaen
dc.subjectGulf of Thailanden
dc.titleความหลากหลายของสัตว์หน้าดินขนาดใหญ่โดยการลากคราดในอ่าวไทย (Diversity of Marine Macro-benthic Animals Collected by Dredging in the Gulf of Thailand)en
dc.typeConference paperen
dc.citation.spage164en
dc.citation.epage186en
dc.citation.conferenceTitleการสัมมนาวิชาการเรื่อง "ผลการสำรวจทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณอ่าวไทยตอนกลางโดยเรือสำรวจซีฟเดค ปี 2556"en


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record