แสดงระเบียนรายการที่เรียบง่าย

Share 
 
dc.contributor.authorบูรณะประทีปรัตน์, อนุกูล
dc.contributor.authorศุกระมงคล, ณฐินี
dc.contributor.authorอานุภาพบุญ, ศักดิ์ชาย
dc.contributor.authorละอองมณี, เพ็ญจันทร์
dc.contributor.authorสิงหรักษ์, ปัทมา
dc.date.accessioned2020-04-09T09:23:54Z
dc.date.available2020-04-09T09:23:54Z
dc.date.issued2013-12
dc.identifier.citationบูรณประทีปรัตน์, อ., ศุกระมงคล, ณ., อานุภาพบุญ, ศ., ละอองมณี, พ., & สิงหรักษ์, ป. (2013). สภาวะการแบ่งชั้นน้ำและการผสมผสานของมวลน้ำในอ่าวไทยในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน พ.ศ. 2556. การสัมมนาวิชาการเรื่อง ผลการสำรวจทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณอ่าวไทยตอนกลางโดยเรือสำรวจซีฟเดค ปี 2556 (pp. 29-33). สมุทรปราการ: สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม.en
dc.identifier.isbn978-616-382-228-4
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/20.500.12067/1172
dc.description.abstractข้อมูลที่ตรวจวัดได้ด้วยเครื่อง CTD (Conductivity – Temperature – Depth) ที่ติดตั้งบนเรือ M.V. SEAFDEC ซึ่งได้ทำการสำรวจอ่าวไทยตอนกลาง ในระหว่างวันที่ 14 มีนาคม ถึง 12 เมษายน 2556 ได้ถูกนำมาวิเคราะห์สภาวะของน้ำในแนวดิ่ง ในรูปแบบของการแบ่งชั้นและการผสมผสานกันของมวลน้ำในช่วงการสำรวจพื้นที่อ่าวไทยตอนกลาง จากข้อมูลแสดงให้เห็นว่ามวลน้ำในอ่าวไทยในช่วงเวลานี้ มีการแบ่งชั้นจากการเกิดชั้นเทอร์โมไคลน์ซึ่งเป็นผลมาจากฟลักซ์ความร้อนที่ผิวทะเลที่มีค่าสูงในช่วงฤดูร้อนอุณหภูมิของน้ำใกล้ผิวทะเลมีค่าประมาณ 30.5 oC ขณะที่อุณใกล้พื้นทะเลในบริเวณตอนกลางของอ่าวไทยมีค่าประมาณ 29 oC แต่ในบริเวณใกล้กับปากอ่าว อุณหภูมิใกล้พื้นทะเลกลับมีค่าต่ำถึงประมาณ 27 oC ทั้งนี้เกิดจาการแทรกตัวของน้ำจากทะเลจีนใต้เข้ามาในอ่าวไทย ผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าอิทธิพลของฟลักซ์ความร้อนที่ผิวทะเลทำให้เกิดชั้นเทอร์โมไคลน์ที่ระดับความลึกประมาณ 30 m เกือบตลอดทั่วทั้งอ่าวแต่ในบริเวณที่พบการแทรกตัวของน้ำจากทะเลจีนใต้จะพบเทอร์โมไคลน์และฮาโลไคลน์ที่ความลึกประมาณ 40–50 m จึงปรากฏเทอร์โมไคลน์ที่สองระดับความลึกและเกิดสภาวะ Hypoxia หรือออกซิเจนละลายน้ำมีค่าต่ำ ที่น้ำชั้นล่างในบริเวณที่น้ำจากทะเลจีนใต้แทรกตัวไปถึง The CTD (Conductivity Temperature Depth) data measured during a survey by M.V. SEAFDEC in the central Gulf of Thailand (GoT) during 14 March to 12 April 2013 were used to investigate water column conditions, in the form of stratification and vertical mixing. The data suggested that water stratification was dominant throughout the area. Strong thermocline developed during this summertime when surface heat fluxes over the area were strong. Water temperature near the sea surface was about 30.5 oC while that near the sea floor in the middle GoT was about 29 oC. Water temperature near the sea floor near the GoT mouth, however, was about 27 oC lower than in the central GoT due to the intrusion of subsurface water from the South China Sea (SCS) into GoT. The results also showed that the influence of heat fluxes at the sea surface could generate thermocline at depth of about 30 m in almost the entire gulf, but where the intrusion of SCS water occurred, thermocline at depth of approximately 40 - 50 m developed. Double thermoclines and hypoxia in subsurface GoT water were generated in such areas of the SCS water influence.en
dc.description.sponsorshipบริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)en
dc.language.isothen
dc.publisherสำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้en
dc.subjectสภาวะของมวลน้ำในแนวดิ่งen
dc.subjectการแบ่งชั้นน้ำen
dc.subjectการผสมผสานของมวลน้ำen
dc.subjectอ่าวไทยen
dc.subjectwater column conditionsen
dc.subjectwater stratificationen
dc.subjectwater mixingen
dc.subjectGulf of Thailanden
dc.titleสภาวะการแบ่งชั้นน้ำและการผสมผสานของมวลน้ำในอ่าวไทยในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน พ.ศ. 2556 (Water Column Conditions in the Gulf of Thailand during March and April 2013)en
dc.typeConference paperen
dc.citation.spage29en
dc.citation.epage33en
dc.citation.conferenceTitleการสัมมนาวิชาการเรื่อง "ผลการสำรวจทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณอ่าวไทยตอนกลางโดยเรือสำรวจซีฟเดค ปี 2556"en


Files in this item

Thumbnail

รายการนี้ปรากฏใน (s)

แสดงระเบียนรายการที่เรียบง่าย