SEAFDEC/TDINSTITUTIONAL REPOSITORY
    • English
    • ไทย
    • 日本語
  • ไทย 
    • English
    • ไทย
    • 日本語
  • เข้าสู่ระบบ
Search 
  •   STIR บ้าน
  • 01 SEAFDEC/TD Publications
  • Search
  •   STIR บ้าน
  • 01 SEAFDEC/TD Publications
  • Search
JavaScript is disabled for your browser. Some features of this site may not work without it.

Search

Show Advanced FiltersHide Advanced Filters

Filters

Use filters to refine the search results.

Now showing items 1-10 of 31

  • ตัวเลือกการเรียงลำดับ:
  • ความสัมพันธ์กัน
  • ชื่อเรียงจากน้อยไปมาก
  • ชื่อลดลง
  • ออกวันที่จากน้อยไปหามาก
  • ออกวันที่ลดลง
  • ผลลัพธ์ต่อหน้า:
  • 5
  • 10
  • 20
  • 40
  • 60
  • 80
  • 100
Thumbnail

องค์ประกอบชนิดและความหนาแน่นของสัตว์หน้าดินขนาดใหญ่ บริเวณโครงการโป๊ะเชือกเพื่อการจัดการประมงชายฝั่งอย่างยั่งยืน หาดแม่รำพึง จังหวัดระยอง 

ผู้แต่งที่ไม่รู้จัก (สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม, ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, 2010)
การศึกษาองค์ประกอบชนิดและความหนาแน่นของสัตว์หน้าดินขนาดใหญ่ บริเวณโครงการโป๊ะเชือกเพื่อการจัดการประมงชายฝั่งอย่างยั่งยืน เก็บตัวอย่างในระหว่างวันที่ 2-5 มีนาคม 2552 โดยเรือประมง 12 บริเวณตำแหน่งของโป๊ะเชือก และพื้นที่ดดยรอบจำนวน ...
Thumbnail

การสำรวจทรัพยากรทะเลลึก (Deep-sea Fishery Resources Exploration) 

ผู้แต่งที่ไม่รู้จัก (สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม, ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, 2010)
สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ได้ดำเนินโครงการสำรวจทรัพยากรทะเลลึกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เพื่อศึกษาและเก็บข้อมูลของชนิดสัตว์น้ำทะเลลึกในภูมิภาค เพื่อประโยชน์ในการบริหารจัดการและใช้ประโยชน์จากทรัพยากรทะเลลึกอย่างยั่งยืน (The ...
Thumbnail

การวิเคราะห์แนวโน้มของกายกตัวและจมตัวของทางเข้าก้นโป๊ะของเครื่องมือประมงโป๊ะเชือกตามการเปลี่ยนแปลงของกระแสนน้ำ ณ โครงการโป๊ะเชือกระยอง จ.ระยอง 

ผู้แต่งที่ไม่รู้จัก (สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม, ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, 2014)
โครงการศึกษาทดลองเครื่องมือประมงโป๊ะเชือกแบบโอะโตะชิอะมิ (Otoshi ami-type Set-net) เริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2546 ต่อเนื่องมาถึงปัจจุบัน (ปีที่ 11) ณ บริเวณนอกชายฝั่งหาดแม่รำพึง จ.ระยอง เพื่อวัตถุประสงค์ในการจัดการทรัพยากรชา ...
Thumbnail

ลอบน้ำลึก (Deep Sea Trap) 

ผู้แต่งที่ไม่รู้จัก (สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม, ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, 2011)
ลอบน้ำลึก ได้ถูกพัฒนามาจากลอบกุ้งฝรั่งเศส ลอบน้ำลึกเป็นเครื่องมือประมงที่ใช้จับสัตว์น้ำจำพวก กุ้ง ปู หรือสัตว์น้ำอื่นๆ ที่มีเปลือกแข็ง รูปแบบของลอบน้ำลึกมี 2 แบบ ได้แก่ ลอบน้ำลึกทรงสี่เหลี่ยม และทรงกระบอก ลอบทรงสี่เหลี่ยมนั้น ...
Thumbnail

ระบบสถิติการประมงในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 

ผู้แต่งที่ไม่รู้จัก (สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม, ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, 2010)
ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้รับความร่วมมือกับประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในการจัดส่งข้อมูลสถิติประมงในประเทศของตนมารวบรวมไว้ เพื่อเป็นข้อมูลที่สะท้อนให้เห็นสถานภาพของการประมงในระดับภูมิภาคและ ...
Thumbnail

ชนิดของปลาทูน่า 

ผู้แต่งที่ไม่รู้จัก (สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม, ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, 2010)
รายละเอียดของปลาทูน่าในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ได้แก่ ปลาทูน่าครีบเหลือง, ปลาทูน่าตาโต, ปลาทูน่าครีบยาว, ปลาทูน่า Striped Bonito, ปลาโอขาว, ปลาทูน่าครีบสีน้ำเงินใต้, ปลาโอหลอด, ปลาโอลาย, ปลาโอแถบ, ปลาโอดำ
Thumbnail

ธนาคารปู 

ผู้แต่งที่ไม่รู้จัก (สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม, ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, 2013)
ธนาคารปูเป็นอนุบาลแม่ปูม้าที่มีไข่นอกกระดองในกระชังที่ได้เตรียมไว้ เพื่อให้แม่ปูม้าปล่อยไข่ไปสู่ทะเล และชาวประมงจึงจับแม่ปูม้าไปจำหน่ายต่อไป โดยธนาคารปูมีการดำเนินงานคล้ายสหกรณ์ คือมีการเปิดรับสมาชิก หากสมาชิกในกลุ่มจับป ...
Thumbnail

การเก็บรักษาคุณภาพสัตว์น้ำด้วยน้ำแข็งเหลว (Preserving Marine Products with Seawater Sherbet) 

ผู้แต่งที่ไม่รู้จัก (สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม, ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, 2012)
การเก็บรักษาสัตว์น้ำด้วยน้ำแข็งเหลว เป็นการรักษาความสดของสัตว์น้ำที่จับได้อีกวิธีหนึ่งที่มีประสิทธิภาพในการให้ความเย็นแก่สัตว์น้ำได้อย่างรวดเร็วกว่าการใช้น้ำแข็งถึง 2 เท่า เนื่องจากมีเกล็ดน้ำแข็งขนาดเล็ก เส้นผ่าศูนย์กลาง ...
Thumbnail

หญ้าทะเลเทียม 

ผู้แต่งที่ไม่รู้จัก (สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม, ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, 2013)
หญ้าทะเลเทียม จัดสร้างอยู่ภายในบริเวณพื้นที่เพาะเลี้ยงหอยแมลงภู่แบบแพเชือกในโครงการฟาร์มทะเลตัวอย่างฯ โดยหญ้าทะเลเทียมจะทำหน้าที่เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย หลบภัย หาอาหาร และขยายพันธุ์ของสัตว์น้ำที่เข้ามาอยู่อาศัย ฟื้นฟูและเพ ...
Thumbnail

การเพาะเลี้ยงหอยแมลงภู่แบบแพเชือก 

ผู้แต่งที่ไม่รู้จัก (สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม, ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, 2013)
การเพาะเลี้ยงหอยแมลงภู่แบบแพเชือก พัฒนารูปแบบมาจากการเลี้ยงหอยแมลงภู่แบบดั้งเดิมที่ใช้หลักไม้ไผ่ปักเพื่อล่อลูกหอยแมลงภู่ให้มาเกาะอาศัยและเจริญเติบโต โดยแพเชือกรูปแบบใหม่นี้สามารถจัดสร้างโดยใช้วัสดุที่หาได้ในท้องตลาด ...
  • 1
  • 2
  • 3
  • 4

© SEAFDEC/TD 2025
ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น
 

 

หมวด

ทั้งหมดของ STIRชุมชนและคอลเล็กชันตามวันที่ออกผู้เขียนชื่อเรื่องอาสาสมัครThis Communityตามวันที่ออกผู้เขียนชื่อเรื่องอาสาสมัคร

บัญชีของฉัน

เข้าสู่ระบบRegister

Context

Export Search Metadata

ค้นพบ

TypeOther 18Book 2ผู้เขียน
ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม 31
เรื่องSEAFDEC 11ผลการดำเนินโครงการ 9รายงานการดำเนินงาน 9รายงานกิจกรรม 9ปะการังเทียม 5... ค้นพบวันที่ออก2012 62010 52013 52018 42016 32011 22014 22017 22015 12019 1Language (ISO)Thai 31มีไฟล์ใช่ 31

© SEAFDEC/TD 2025
ติดต่อเรา | ส่งความคิดเห็น