Show simple item record

Share 
 
dc.contributor.authorสุขแสงจันทร์, จรวย
dc.contributor.authorสุนทรเกตุ, ปภัสวรรณ
dc.date.accessioned2020-04-15T05:22:40Z
dc.date.available2020-04-15T05:22:40Z
dc.date.issued2013-12
dc.identifier.citationสุขแสงจันทร์, จ., & สุนทรเกตุ, ป. (2013). ชนิดและการแพร่กระจายของปลาหมึกบริเวณอ่าวไทยตอนกลาง. การสัมมนาวิชาการเรื่อง ผลการสำรวจทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณอ่าวไทยตอนกลางโดยเรือสำรวจซีฟเดค ปี 2556 (pp. 125-136). สมุทรปราการ: สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.en
dc.identifier.isbn978-616-382-228-4
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/20.500.12067/1194
dc.description.abstractการสำรวจชนิดและการแพร่กระจายของปลาหมึกบริเวณอ่าวไทยตอนกลาง ระหว่างวันที่ 14 มีนาคม - 12 เมษายน 2556 โดยเรือสำรวจ M.V.SEAFDEC ทำการเก็บตัวอย่างทั้งหมด 25 สถานี ความลึกของน้ำทะเลอยู่ระหว่าง 20-71 เมตร ด้วยเครื่องมือ 4 ชนิด ได้แก่ เบ็ดตกด้วยมือ เครื่องตกหมึกอัตโนมัติ ลอบ และคราด รวบรวมตัวอย่างปลาหมึกได้ทั้งหมด 478 ตัว จำแนกเป็น 4 อันดับ 4 วงศ์ 7 สกุล 8 ชนิด ได้แก่ หมึกศอก (Photololigo chinensis) หมึกหลอด (Photololigo duvauceli) หมึกกล้วย (Photololigo singhalensis) หมึกหอม (Sepioteuthis lessoniana) หมึกกระดองลายเสือ (Sepia pharaonis) หมึกกระดองหางแหลม (Sepia aculeata) หมึกกระดองก้นไหม้ (Sepiella inermis) หมึกสายขาว (Amphioctopus aegina) หมึกสาย (Octopus sp.) และ หมึกการ์ตูน (Euprymna sp.) ปลาหมึกที่พบมากที่สุด คือ หมึกศอก รองลงมาคือหมึกหลอด และหมึกหอม ตามลำดับ Species and Distribution of Cephalopods in the Central Gulf of Thailand were survey during 14 March-12 April 2013 by M.V. SEAFDEC. There were 25 sampling stations with depth range were between 20-71 meters. The specimens of cephalopods were collected by 4 fishing gears: hand-line squid jig, automatic squid jig, trap and dredge. Four hundred and seventy eight specimens were examined and identified to 4 orders 4 families 7 genus and 8 species: Photololigo chinensis, Photololigo duvauceli, Photololigo singhalensis, Sepioteuthis lessoniana, Sepia pharaonis, Sepia aculeata, Sepiella inermis, Amphioctopus aegina, Octopus sp. and Euprymna sp. The dominant species were Photololigo chinensis, Photololigo duvauceli and Sepioteuthis lessoniana respectively.en
dc.description.sponsorshipบริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)en
dc.language.isothen
dc.publisherสำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้en
dc.subjectปลาหมึกen
dc.subjectการจำแนกชนิดen
dc.subjectอ่าวไทยตอนกลางen
dc.subjectCephalopoden
dc.subjectidentificationen
dc.subjectGulf of Thailanden
dc.titleชนิดและการแพร่กระจายของปลาหมึกบริเวณอ่าวไทยตอนกลาง (Species and Distribution of Cephalopods in the Central Gulf of Thailand)en
dc.typeConference paperen
dc.citation.spage125en
dc.citation.epage136en
dc.citation.conferenceTitleการสัมมนาวิชาการเรื่อง "ผลการสำรวจทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณอ่าวไทยตอนกลางโดยเรือสำรวจซีฟเดค ปี 2556"en


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record