Show simple item record

Share 
 
dc.contributor.authorนายธนัส ศรีคุ้ม
dc.contributor.authorนายสายัณห์ พรหมจินดา
dc.contributor.authorนายนคเรศ ยะสุข
dc.contributor.authorนายคมสันต์ โป้ฟ้า
dc.contributor.authorเรือโทเฉลิมชาติ อรุณโรจน์ประไพ (รน.)
dc.contributor.authorนายณรงค์ เรืองสิวะกุล
dc.contributor.authorนายสันติพงษ์ ปุตสะ
dc.contributor.authorนายอิสระ ชาญราชกิจ
dc.date.accessioned2019-10-18T09:04:10Z
dc.date.available2019-10-18T09:04:10Z
dc.date.issued2017
dc.identifier.citationชาญราชกิจ, อ., ปุตสะ, ส., รืองสิวะกุล, ณ., อรุณโรจน์ประไพ, เ., โป้ฟ้า, ค., ยะสุข, น., . . . ศรีคุ้ม, ธ. (2560). รายงานเบื้องต้น การสำรวจเครื่องมือประมงอวนลากหน้าดินของประเทศไทย. สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/20.500.12067/1013
dc.descriptionตามที่กรมประมงได้ร่วมมือกับองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (FAO) และศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (SEAFDEC) ในการดำเนินงานวิจัยตามกลยุทธ์ในการจัดการ สัตว์น้ำพลอยจับได้จากการประมงอวนลาก (Strategies for Trawl Fisheries By-catch Management - REBYC-II CTI; GCP/RAS/269/GFF) โครงการนี้ กรมประมงได้รับการสนับสนุนเงินทุนจากองค์กรสิ่งแวดล้อมโลก (GEF) โดยมีองค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ และศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เป็นผู้แนะนำและจัดสรรงบประมาณ อนึ่งในบรรดาโครงการต่างๆ ที่ได้จัดเตรียมดำเนินงานโดยกรมประมงนั้น การสำรวจรูปแบบเครื่องมือประมงอวนลากของประเทศไทย เพื่อการบริหารจัดการประมงอวนลากกุ้งทะเล เป็นโครงการหนึ่งที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการทรัพยากรประมงอวนลากตามแนวทางเชิงระบบนิเวศ ที่จะมุ่งเน้นในการรักษาความสมดุลของความต้องการทางสังคมที่มีความหลากหลาย ทั้งทางด้านทรัพยากรประมง มนุษย์ หรือชุมชน ตามหลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทรัพยากรประมงทะเล อันจะนำมาซึ่งความสามารถในการบริหารจัดการประมงอวนลากอย่างยั่งยืนในที่สุด ในการนี้โครงการ REBYC-II CTI (ประเทศไทย) และศูนย์พัฒนาการประมงฯ ได้รับการร้องขอจาก กรมประมงประเทศไทยในการสนับสนุนทางด้านเทคนิค การศึกษา สำรวจ รูปแบบเครื่องมือประมงอวนลากของประเทศไทย ที่มีเป้าหมายใช้จับกุ้งทะเล เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการบริหารจัดการการประมงอวนลาก รวมทั้งศึกษาเบื้องต้นถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการกำหนดขนาดตาอวนก้นถุงอวนลากเป็น 40 มิลลิเมตร การศึกษารูปแบบอวนลากหน้าดินในครั้งนี้มีเป้าหมายจะทราบโครงสร้างรูปแบบของอวนลากหน้าดินในปัจจุบัน โดยเน้นที่อวนลากแผ่นตะเฆ่ที่มีเป้าหมายใช้จับกุ้งทะเล และคุณลักษณะของอวนลากแผ่นตะเฆ่แบบอื่นๆ ที่ชาวประมงอวนลากนิยมใช้ เช่น อวนลากกะเทย อวนลากแมงกะพรุน เป็นต้น ผลจากการศึกษาครั้งนี้จะใช้ป็นเอกสารอ้างอิง รูปแบบเครื่องมือประมงอวนลากของประเทศไทย ที่สามารถใช้สนับสนุนการบริหารจัดการอวนลาก การศึกษาเทคโนโลยีเครื่องมือประมงอวนลากแกหน่วยงาน สถาบันการศึกษา และบุคคลที่ศึกษา หรือสนใจในการประมงอวนลากในอนาคตen
dc.language.isothen
dc.publisherSEAFDECen
dc.relation.ispartofseriesTD/RP/193;
dc.subjectเครื่องมือประมงen
dc.subjectอวนลากหน้าดิน
dc.titleรายงานเบื้องต้น การสำรวจเครื่องมือประมงอวนลากหน้าดินของประเทศไทยen
dc.typeTechnical Reporten


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record