Show simple item record

Share 
 
dc.contributor.authorละอองมณี, วิโรจน์
dc.contributor.authorอยู่เวียงไชย, สุกฤตา
dc.contributor.authorวรรณศรี, นรีนิล
dc.contributor.authorคุรประเสริฐ, กษิรา
dc.contributor.authorบุญญวัฒน์, จริยา
dc.date.accessioned2020-04-08T08:00:46Z
dc.date.available2020-04-08T08:00:46Z
dc.date.issued2013-12
dc.identifier.citationละอองมณี, ว., อยู่เวียงไชย, ส., วรรณศรี, น., คุรประเสริฐ, ก., & บุญญวัฒน์, จ. (2013). การศึกษาฝุ่นละอองบรรยากาศในอ่าวไทยตอนกลางด้วยมาตรวัดแสงอาทิตย์แบบมือถือ. การสัมมนาวิชาการเรื่อง ผลการสำรวจทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณอ่าวไทยตอนกลางโดยเรือสสำรวจซีฟเดค ปี 2556 (pp. 1-7). สมุทรปราการ: สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม.en
dc.identifier.isbn978-616-382-228-4
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/20.500.12067/1160
dc.description.abstractการตรวจวัดฝุ่นละอองในบรรยากาศด้วยมาตรวัดพลังงานแสงอาทิตย์แบบมือถือ บริเวณอ่าวไทยตอนกลาง เพื่อติดตามผลกระทบจากปรากฏการณ์ฝุ่นควันจากการเผาพื้นที่การเกษตรจากภาคเหนือ โดยตรวจวัดพลังงานแสงอาทิตย์ในระหว่างเที่ยวเรือสำรวจ ซีฟเดคที่ 93-2/2013 ระหว่างวันที่ 14 มีนาคม ถึง 12 เมษายน 2556 ซึ่งตรวจวัด 3 ช่วงเวลาต่อวัน คือ ประมาณ 0800 น. 1300 น. และ 1600 น. แต่ละชุดตรวจวัด 3 ครั้ง จำนวนข้อมูลทั้งหมด 284 ข้อมูล ใน 3 ช่วงคลื่นแสงคือ สีน้ำเงิน (460) สีเขียว (540) และ ช่วงคลื่นสีแดง (620 นาโนเมตร) คำนวณจากพลังงานแสง เป็นค่า ปริมาณฝุ่นละอองในบรรยากาศ (Aerosol optical thickness: AOT) ด้วยชุดโปรแกรม หาตำแหน่งดวงอาทิตย์ และมวลอากาศเชิงสัมพันธ์ (Relative air-mass) และตารางคำนวณ ซึ่งผลที่ได้พบว่า ค่า AOT ในช่วงคลื่นสีน้ำเงิน มีค่าน้อยที่สุดที่ 0.126 มีค่ามากที่สุดที่ 1.279 ในช่วงคลื่นสีเขียว มีค่าน้อยที่สุดที่ 0.086 มีค่ามากที่สุดที่ 1.141 และในช่วงคลื่นสีแดง มีค่าน้อยที่สุดที่ 0.084 มากที่สุดที่ 0.932 เมื่อพิจารณาค่า AOT ในช่วงคลื่นสีเขียว มีค่าเฉลี่ยทั้งอ่าวไทยตอนกลาง เท่ากับ 0.532 ±0.229 ซึ่งนับว่ามีฝุ่นละอองในบรรยากาศค่อนข้างน้อย และหากแบ่งพื้นที่อ่าวไทยโดยใช้เส้นละติจูดที่ 10 องศาเป็นเกณฑ์ พบว่า เหนือเส้นละติจูดที่ 10 องศา มีค่าเฉลี่ยของ AOT ในช่วงคลื่นสีเขียวเท่ากับ 0.662 ±0.208 ในขณะที่พื้นที่ต่ำกว่าเส้นละติจูดที่ 10 องศา มีค่าเฉลี่ย AOT ในช่วงคลื่นสีเขียวเท่ากับ 0.467 ±0.212 ซึ่งตอนล่างมีฝุ่นละอองในบรรยากาศน้อยกว่าในช่วงดังกล่าว และหากพิจารณาร่วมกับทิศทางของลมในช่วงเวลาดังกล่าว ทิศทางของลมที่ได้จาก รูปถ่ายดาวเทียม Oceansat-2 พบว่าโดยส่วนใหญ่ลมจะพัดจากทิศตะวันออกวกขึ้นตอนเหนือของอ่าวไทยโดยตลอด ทำให้ผลกระทบจากการเผาพื้นที่การเกษตรในภาคเหนือไม่ส่งผลกระทบโดยตรงต่ออ่าวไทยตอนกลาง The study of Aerosol optical thickness (AOT) on the central gulf of Thailand by hand-held sunphotometer for assessing the impact of prepared agriculture area burning at northern part of Thailand. The sunphotometers were measurement during M.V.SEAFDEC cruise No.93-2/2013 on 14 March to 12 April 2013, three times a day at 0800, 1300 and 1600 hrs. Total 284 data set on three wavelength as blue channel (460 nanometer: nm), green channel (540 nm), red channel (620 nm.). AOT values were calculated by derived sun position and relative air-mass. The minimum AOT-Blue is 0.126 and maximum AOT-Blue is 1.279, the minimum AOT-Green is 0.086 and maximum AOT-Green is 1.141 and the minimum AOT-Red is 0.084 and maximum AOTRed is 0.932. When considering the AOT-Green, average AOT of the central gulf of Thailand is 0.532 ±0.229, this value indicating low air pollution. Then divide the study area into 2 parts by 10-Degree Latitude, the average AOT-Green of upper part is 0.662 ±0.208 and the average AOT-Green of lower part is 0.467 ±0.212. Considering the wind direction from Oceansat-2 wind data sets, almost from eastward and turn to north direct all the during study time. That mean the central gulf of Thailand has no effected from agriculture burned area from northern parten
dc.description.sponsorshipบริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)en
dc.language.isothen
dc.publisherสำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้en
dc.subjectฝุ่นละอองในบรรยากาศen
dc.subjectการตรวจวัดพลังงานแสงอาทิตย์en
dc.subjectaerosolsen
dc.subjectSun-photometeren
dc.titleการศึกษาฝุ่นละอองบรรยากาศในอ่าวไทยตอนกลางด้วยมาตรวัดแสงอาทิตย์แบบมือถือ (Aerosol Optical Thickness in the Central Gulf of Thailand by Hand-held Sun-photometer)en
dc.typeConference paperen
dc.citation.spage1en
dc.citation.epage7en
dc.citation.conferenceTitleการสัมมนาวิชาการเรื่อง "ผลการสำรวจทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณอ่าวไทยตอนกลางโดยเรือสำรวจซีฟเดค ปี 2556"en


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record