Show simple item record

Share 
 
dc.contributor.authorบูรณะประทีปรัตน์, อนุกูล
dc.contributor.authorละอองมณี, วิโรจน์
dc.contributor.authorอินทเจริญ, ประสาร
dc.contributor.authorเลือดนักรบ, พนธิภา
dc.contributor.authorนาอุดม, ธวัชชัย
dc.contributor.authorทองอุดม, ศิราพร
dc.date.accessioned2020-04-09T03:41:42Z
dc.date.available2020-04-09T03:41:42Z
dc.date.issued2013-12
dc.identifier.citationบูรณประทีปรัตน์, อ., ละอองมณี, ว., อินทเจริญ, ป., เลือดนักรบ, พ., นาอุดม, ธ., & ทองอุดม, ศ. (2013). ฟลักซ์ความร้อนที่ผิวหน้าทะเลบริเวณอ่าวไทยในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน พ.ศ. 2556. การสัมมนาวิชาการเรื่อง ผลการสำรวจทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณอ่าวไทยตอนกลาง โดยเรือซีฟเดค ปี พ.ศ. 2556 (pp. 23-28). สมุทรปราการ: สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม.en
dc.identifier.isbn978-616-382-228-4
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/20.500.12067/1168
dc.description.abstractคณะผู้วิจัยได้ทำการตรวจวัดพลังงานแสงจากดวงอาทิตย์อุณหภูมิและความชื้นของอากาศ ความเร็วลม อุณหภูมิน้ำใกล้ผิวทะเลบนเรือ SEAFDEC ในระหว่างการสำรวจอ่าวไทยตอนกลางระหว่างวันที่ 14 มีนาคม ถึงวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2556 เพื่อทำการประเมินค่าฟลักซ์ความร้อน 4 ชนิดที่บริเวณผิวทะเล ได้แก่ ฟลักซ์ความร้อนจากการแผ่รังสีคลื่นสั้นของดวงอาทิตย์ (Short Wave Radiation – SWR) ฟลักซ์ความร้อนจากการแผ่รังสีกลับของน้ำทะเล (Long Wave Radiation – LWR) ฟลักซ์ความร้อนจากการนำและการพา (Sensible Heat Flux – SHF) และฟลักซ์ความร้อนจากการเปลี่ยนสถานะของน้ำ (Latent Heat Flux – LHF) ผลการตรวจวัดฟลักซ์ความร้อนในช่วงคลื่นแสงที่ลงสู่ทะเลพบว่ามีค่าอยู่ในช่วง 150–220 W/m2 ตลอดช่วงเวลาการตรวจวัดซึ่งเป็นช่วงฤดูร้อน เมื่อเทียบกับผลที่ได้เคยมีการรายงานไว้ก่อนหน้านี้ โดยใช้ข้อมูลจากดาวเทียมในช่วงเวลาเดียวกัน พบว่ามีค่าประมาณ 200–250 W/m2 การที่การสำรวจในครั้งนี้มีค่าต่ำกว่าที่เคยมีรายงานไว้อาจเป็นไปได้ในหลายกรณี เช่น เกิดจากความผันแปรระหว่างปีผลการประเมินจากรูปถ่ายดาวเทียมมีค่าสูงเกินจริง หรือช่วงคลื่นพลังงานที่นำมาใช้คำนวณค่าฟลักซ์ความร้อนอาจมีความแตกต่างกัน ฟลักซ์ความร้อนอื่นๆ มีค่าผันแปรไปตามค่าคงที่ของสมการที่ใช้ในการคำนวณและช่วงเวลาที่ตรวจวัดข้อมูลที่นำมาใช้ประกอบในการคำนวณ The researchers measured the light energy from the sun, temperature and humidity of the air, wind speed, sea surface temperature during a survey in the central Gulf of Thailand (GoT) by M.V. SEAFDEC during 14 March to 12 April 2013. These measured data were used to estimate 4 heat fluxes at the sea surface including solar or short wave radiation (SWR) flux, back radiation from the sea surface or long wave radiation (LWR) flux, heat conduction and convection or sensible heat flux (SHF) flux and latent heat flux (LHF) flux. The measurement of light energy onboard during this summertime results the values in ranges between 150-220 W/m2. The results from this survey were lower than the values previously reported using satellite data for the same period (200-250 W/m2). It is possible due to the variation between years, overestimation based on satellite imageries and the difference in wave spectrum used to calculate SWR. Other heat flux values were varied according to the constants of the equations used in the calculation and sampling periods of the data used for heat flux estimations.en
dc.description.sponsorshipบริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)en
dc.language.isothen
dc.publisherสำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้en
dc.subjectฟลักซ์ความร้อนที่ผิวทะเลen
dc.subjectอ่าวไทยen
dc.subjectSurface heat fluxesen
dc.subjectGulf of Thailanden
dc.subjectพลังงานแสงen
dc.subjectความชื้นอากาศen
dc.subjectความเร็วลมen
dc.subjectGOTSEEDsen
dc.titleฟลักซ์ความร้อนที่ผิวหน้าทะเลบริเวณอ่าวไทยในช่วงเดือนมีนาคมและเมษายน พ.ศ. 2556 (Surface Heat Fluxes at the Sea Surface in the Gulf of Thailand during March and April 2013)en
dc.typeConference paperen
dc.citation.spage23en
dc.citation.epage28en
dc.citation.conferenceTitleการสัมมนาวิชาการเรื่อง ผลการสำรวจทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณอ่านไทยตอนกลาง โดยเรือสำรวจซีฟเดค ปี 2556en


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record