Show simple item record

Share 
 
dc.contributor.authorยีมิน, ธรรมศักดิ์
dc.contributor.authorจุลละศร, สุภาวดี
dc.contributor.authorมุสิก, วรรณา
dc.contributor.authorรักนาวี, สุภัสรา
dc.contributor.authorธรรมสาร, ศศิวิมล
dc.contributor.authorใจหาญ, สมร
dc.contributor.authorสุทธาชีพ, มาฆมาส
dc.date.accessioned2020-04-15T07:05:51Z
dc.date.available2020-04-15T07:05:51Z
dc.date.issued2013-12
dc.identifier.citationยีมิน, ธ., จุลละศร , ส., มุสิก , ว., รักนาวี , ส., ธรรมสาร , ศ., ใจหาญ, ส., & สุทธาชีพ, ม. (2013). สัตว์ทะเลหน้าดินขนาดเล็กจากพื้นทะเลอ่าวไทย. การสัมมนาวิชาการเรื่อง ผลการสำรวจทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณอ่าวไทยตอนกลางโดยเรือสำรวจซีฟเดค ปี 2556 (pp. 153-163). สมุทรปราการ: สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.en
dc.identifier.isbn978-616-382-228-4
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/20.500.12067/1197
dc.description.abstractสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดเล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในชั้นตะกอนพื้นทะเลทั้งในบริเวณชายฝั่งจนถึงทะเลลึก สัตว์ทะเลหน้าดินขนาดเล็กเป็นอาหารของสัตว์ทะเลต่างๆ และยังมีความอ่อนไหวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อม จึงทำให้สามารถนำมาใช้เป็นตัวชี้วัดการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมได้ การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการแพร่กระจายและความชุกชุมของสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดเล็กบนพื้นทะเลในอ่าวไทย ความหนาแน่นรวมของสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดเล็กในบริเวณสถานีศึกษามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สัตว์ทะเลหน้าดินขนาดเล็กกลุ่มเด่น ได้แก่ ฟอร์แรม หนอนตัวกลม ไส้เดือนทะเลและโคพีพอด สถานีศึกษาส่วนใหญ่ในเขตจังหวัดสุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช และสงขลา มีความหนาแน่นรวมของสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดเล็กสูง ปัจจัยสิ่งแวดล้อม เช่น ความลึกและความเค็มเป็นปัจจัยสำคัญที่ควบคุมการแพร่กระจายและความชุกชุมของสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดเล็กในอ่าวไทย การศึกษาในรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดเล็กในพื้นทะเลอ่าวไทยยังมีความจำเป็น Meiofauna is an important component of seafloor sediments in coastal areas to deep sea habitats. They can provide food for various consumers and exhibit high sensitivity to environmental stresses making them good environmental indicators. The present study aimed to examine the distribution and abundance of benthic meiofauna in the Gulf of Thailand. The total meiofaunal densities were significantly different among study sites. The dominant meiofaunal groups were forams, nematodes, polychaetes and copepods. Most study sites in Surat Thani, Nakhon Si Thammarat and Songkhla Provinces had relatively high meiofaunal densities. Certain environment factors, such as depth and salinity, were important factors controlling the distribution and abundance of meiofauna in the Gulf of Thailand. Further extensive studies on meiofauna on the seafloor of the Gulf of Thailand are needed.en
dc.description.sponsorshipบริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)en
dc.language.isothen
dc.publisherสำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้en
dc.subjectสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดเล็กen
dc.subjectการแพร่กระจายen
dc.subjectตะกอนen
dc.subjectอ่าวไทยen
dc.subjectMeiofaunaen
dc.subjectdistributionen
dc.subjectsedimenten
dc.subjectGulf of Thailanden
dc.titleสัตว์ทะเลหน้าดินขนาดเล็กจากพื้นทะเลอ่าวไทย (Meiofauna on the Seafloor of the Gulf of Thailand)en
dc.typeConference paperen
dc.citation.spage153en
dc.citation.epage163en
dc.citation.conferenceTitleการสัมมนาวิชาการเรื่อง "ผลการสำรวจทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณอ่าวไทยตอนกลางโดยเรือสำรวจซีฟเดค ปี 2556"en


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record