Show simple item record

Share 
 
dc.contributor.authorวิเศษพงษ์พันธ์, พันธุ์ทิพย์
dc.contributor.authorละอองมณี, เพ็ญจันทร์
dc.contributor.authorศุกระมงคล, ณฐินี
dc.date.accessioned2020-04-15T07:17:42Z
dc.date.available2020-04-15T07:17:42Z
dc.date.issued2013-12
dc.identifier.citationวิเศษพงษ์พันธ์, พ., วงศ์อิสรกุล, ก., ละอองมณี, พ., & ศุกระมงคล, ณ. (2013). ความหลากชนิดและการแพร่กระจายของปูบริเวณอ่าวไทย. การสัมมนาวิชาการเรื่อง ผลการสำรวจทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณอ่าวไทยตอนกลางโดยเรือสำรวจซีฟเดค ปี 2556 (pp. 187-203). สมุทรปราการ: สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.en
dc.identifier.isbn978-616-382-228-4
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/20.500.12067/1199
dc.description.abstractศึกษาความหลากชนิดและการแพร่กระจายของปูในอ่าวไทยด้วยเรือสำรวจ M.V.SEAFDEC โดยทำการเก็บตัวอย่างปูจาก 24 สถานีเก็บตัวอย่างด้วยลอบและคราด พบว่าปูมีความหลากชนิดทั้งสิ้น 72 ชนิด 47 สกุล และ 13 วงศ์ วงศ์ที่มีความหลากชนิดที่สุด คือ Portunidae ซึ่งพบปู 14 ชนิด และสกุลที่มีความหลากชนิดที่สุดคือ Portunus และ Charybdis ที่พบปู 7 และ 5 ชนิด ซึ่งเป็นปูกลุ่มเป้าหมาย ที่เป็นปูเศรษฐกิจและปูที่พบชุกชุมที่สุดและแพร่กระจายเป็นบริเวณกว้าง ได้แก่ ปูกะตอยก้ามสัน (Charybdis truncata) และ ปูกางเขน (Charybdis feriatus) การแพร่กระจายของปูบริเวณอ่าวไทยตอนบน มีความหลากชนิดของปูมากที่สุด รองลงมาคือ อ่าวไทยตอนล่างและตอนกลาง โดยพบปู 56, 37, และ 31 ชนิด ตามลำดับ กลุ่มสถานีน้ำตื้นมีความหลากชนิดของปูมากกว่ากลุ่มสถานีน้ำลึก คือ 62 และ 38 ชนิด สถานีเก็บตัวอย่างที่ 3 ซึ่งเป็นสถานีที่อยู่บริเวณอ่าวไทยตอนบนในเขตน้ำตื้นมีความหลากชนิด ของปูสูงสุดคือ 25 ชนิด ส่วนสถานีเก็บตัวอย่างที่ 26 ซึ่งอยู่ในอ่าวไทยตอนกลาง และเขตน้ำตื้น พบปูกะตอยก้ามสันชุกชุมที่สุด ความหลากชนิดของปูที่ได้จากเครื่องมือลอบและคราดคือ 49 และ 38 ชนิด สิ่งที่น่าสนใจคือพบปูที่คาดว่าเป็นรายงานการศึกษาครั้งแรกในประเทศไทย ได้แก่ ปูเสฉวนเกล็ดม่วง (Dardanus imbricatus) ปูก้านตายาว (Ommatocarcinus granulatus) ปูใบ้จิ๋ว (Liomera tristis) และปูใบ้ลายวง (Neoxanthops rotundus) การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่าอ่าวไทยยังมีศักยภาพในการพัฒนาการทำการประมงปูและยังเป็นบริเวณที่มีความหลากหลายทางชีวภาพของปูสูง ดังนั้นควรจะมีการศึกษาความหลากชนิดและการแพร่กระจายของปูในอ่าวไทยให้ครอบคลุมทุกพื้นที่และมีการศึกษาอย่างต่อเนื่องตลอดปีการศึกษานี้ทำให้เกิดองค์ความรู้ในการใช้ประโยชน์ปูและการอนุรักษ์ทรัพยากรปูในอ่าวไทยอย่างยั่งยืน The species richness and distribution of crabs were studies in the Gulf of Thailand by M.V. SEAFDEC cruise. The samples were collected at 24 sampling stations using traps and dredges. The species richness of crabs were totally 72 species, 47 genera and 13 families. Family Portunidae showed the highest species richness at 14 species. While Portunus and Charybdis had the highest numbers of species at 7 and 5 which almost the economically target species. The most abundant species and widely distributed were Charybdis truncata and Charybdis feriatus. The upper part of Gulf of Thailand had the higher species richness than the lower and middle part with the numbers of 56, 37 and 31 species, respectively. The species richness of crabs in the shallow water stations had the higher species richness than the deep water stations with the numbers of 62 and 38 species. The sampling station number 3 which located in the upper part of Gulf of Thailand and shallow water had the highest species richness with the numbers of 25 species. While C. truncata in the sampling station number 26 which located in the middle part of Gulf of Thailand and shallow water was the most abundant species. The species richness of crabs caught by traps and dredges were 49 and 38 species. Interestingly, Dardanus imbricatus, Ommatocarcinus granulatus, Liomera tristis and Neoxanthops rotundus were supposed to be new records of Thailand. This study indicated that the Gulf of Thailand had the potential for crab fishery and also the biodiversity important area. The further study of the diversity and distribution of crabs covering the Gulf of Thailand around the year should be continued. This study was provided the knowledge of usage and sustainable conservation of crab resources in the Gulf of Thailand.en
dc.description.sponsorshipบริษัท ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน)en
dc.language.isothen
dc.publisherสำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้en
dc.subjectปูen
dc.subjectอ่าวไทยen
dc.subjectcrabsen
dc.subjectGulf of Thailanden
dc.subjectspeciesen
dc.subjectdistributionen
dc.titleความหลากชนิดและการแพร่กระจายของปูบริเวณอ่าวไทย (The Species Richness of Crabs and Theirs Distribution in the Gulf of Thailand)en
dc.typeConference paperen
dc.citation.spage187en
dc.citation.epage203en
dc.citation.conferenceTitleการสัมมนาวิชาการเรื่อง "ผลการสำรวจทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณอ่าวไทยตอนกลางโดยเรือสำรวจซีฟเดค ปี 2556"en


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record