Show simple item record

Share 
 
dc.contributor.authorศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม
dc.date.accessioned2018-03-21T02:34:47Z
dc.date.available2018-03-21T02:34:47Z
dc.date.issued2000-03
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/20.500.12067/488
dc.description.abstractการประมงในบริเวณทะเลจีนใต้มีความซับซ้อน เนื่องจากมีความหลากหลายทั้งในด้านชนิดและกระบวนการผลิตทางชีวภาพ รวมทั้งปริมาณทรัพยากรที่คงอยู่และแหล่งอาศัยกระบวนการเหล่านี้นำมาซึ่งองค์ประกอบทางระบบนิเวศวิทยาทางทะเล จากการศึกษาพบว่าระบบนิเวศวิทยาในบริเวณนี้แตกต่างจากระบบนิเวศวิทยาในเขตร้อนอื่นๆ คือบริเวณหน้าดินมีความสร้างห่วงโซ่อาหารขั้นปฐมภูม ซึ่งมีส่วนสำคัญต่อทรัพยากรปลาหน้าดิน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริเวณอ่าวไทย ซึ่งจัดว่าเป็นแหล่งมีปลาที่อุดมสมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งของภูมิภาคนี้ กระบวนการของระบบนิเวศวิทยานี้ยังคงไม่เป็นที่ทราบแน่ชัน ซึ่งเห็นได้จากการเปลี่ยนแปลงวิธีการทำประมงอยู่เสมอ ทำให้เกิดสภาพนิเวศวิทยาที่ไม่สมดุลย์ เนื่องจากปลาหน้าดินชนิดที่กินสัตว์เป็นอาหารมีจำนวนลดลง ทำให้เกิดสัตว์น้ำที่มีอายุสั้นและสัตว์น้ำวัยอ่อน เช่น หมึก และปลาทรายเติบโตขึ้นมาทดแทนอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้ประเภทการทำการประมงเปลี่ยนแปลงไป นอกจากนี้รายงานที่นำเสนอในเอกสารฉบับนี้จะได้จากการวิเคราห์ข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง ซึ่งอาจแตกต่างไปจากแผนงานวิจัยและระบบการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้วางไว้ล่วงหน้าen
dc.language.isothen
dc.publisherสำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้en
dc.titleการสำรวจทรัพยากรประมงในทะเลจีนใต้บริเวณอ่าวไทยและชายฝั่งตะวันออกของคาบสมุทรมลายูen


Files in this item

Thumbnail

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record