แสดงระเบียนรายการที่เรียบง่าย

Share 
 
dc.contributor.authorสมพงษ์ชัยกุล, เพ็ญใจ
dc.contributor.authorแสนสิทธิสกุลเลิศ, เบญจวรรณ
dc.contributor.authorเทศสวัสดิ์, พิสุทธิ์
dc.date.accessioned2020-04-15T02:41:44Z
dc.date.available2020-04-15T02:41:44Z
dc.date.issued2013-12
dc.identifier.citationสมพงษ์ชัยกุล, เ., แสนสิทธิสกุลเลิศ, เ., & เทศสวัสดิ์, พ. (2013). ลักษณะทางตะกอนวิทยาและการปนเปื้อนของปรอทและสารหนูในดินตะกอนอ่าวไทย. การสัมมนาวิชาการเรื่อง ผลการสำรวจทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณอ่าวไทยตอนกลางโดยเรือสำรวจซีฟเดค ปี 2556 (pp. 64-71). สมุทรปราการ: สำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.en
dc.identifier.isbn978-616-382-228-4
dc.identifier.urihttp://hdl.handle.net/20.500.12067/1186
dc.description.sponsorshipจากการศึกษาดินตะกอนระดับผิวจากอ่าวไทยจำนวน 45 ตัวอย่าง พบว่าท้องทะเลอ่าวไทยมีสภาพรีดิงซ์ ดินตะกอนค่อนข้างหยาบโดยเฉพาะบริเวณตอนบนของอ่าวไทยตอนกลางที่ต่อเนื่องกับอ่าวไทยตอนบนจะหยาบที่สุด มีลักษณะเป็นทรายปนโคลนจนถึงทราย ดินตะกอนในพื้นที่กลางอ่าวจะมีแคลเซียมคาร์บอเนตสูงกว่าพื้นที่ใกล้ชายฝั่ง ยกเว้นนอกชายฝั่ง จ.ระยอง และ จ.สงขลา มีสารอินทรีย์เฉลี่ยร้อยละ 1.62±0.86 (0.56–3.95) โดยพบค่าสูงในแนวนอกชายฝั่ง จ.ชุมพร ถึง จ.สุราษฎร์ธานี และนอกชายฝั่ง จ.ระยอง ถึง จ.จันทบุรี สำหรับปรอทพบเฉลี่ย 33.7±12.7 (7.3–64.5) นาโนกรัมต่อกรัมน้ำหนักแห้ง และสารหนูพบเฉลี่ย 1.82±1.26 (0.26–6.32) ไมโครกรัมต่อกรัมน้ำหนักแห้ง ปรอทและสารหนูในพื้นที่นอกชายฝั่ง จ.นครศรีธรรมราช และกลางอ่าวทางตอนล่างของพื้นที่ศึกษามีค่าสูงกว่าพื้นที่อื่น ขณะที่พื้นที่นอกชายฝั่ง จ.ระยอง ถึง จ.จันทบุรี และพื้นที่บริเวณปากอ่าวไทยด้านล่างสุดของพื้นที่ศึกษามีค่าสูงกว่าพื้นที่อื่นเฉพาะปรอท ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา ระดับปรอทในดินตะกอนอ่าวไทยมีค่าเพิ่มขึ้นซึ่งสอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นของกิจกรรมการขุดเจาะและผลิตปิโตรเลียมในอ่าวไทย เมื่อเทียบกับ Sediment Quality Guidelines ระดับของปรอทและสารหนูในดินตะกอนในอ่าวไทยยังอยู่ในระดับที่ไม่มีความเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิต Study of 45 surface sediment samples from the Gulf of Thailand revealed that the bottom of the Gulf of Thailand was in reducing condition. The sediments had coarse textures. The coarsest sediments as clayey sand to sand were found at the upper part of the central Gulf of Thailand where connecting to the upper gulf. High carbonate sediments were found in the middle of the gulf except the area off Rayong and Songkhla provinces. Average organic matter in sediments was at 1.62%±0.86% (0.56–3.95). High organic matter in sediments was found offshore from Chumporn to Suratthani and from Rayong to Chanthaburi provinces. Mercury was found at the average of 33.7±12.7 (7.3–64.5) ng/g dry weight. Average arsenic was found at 1.82±1.26 (0.26–6.32) μg/g dry weight. High mercury and arsenic sediments were found offshore Nakorn Si Thammarat province and at the middle of the central gulf, whereas offshore Rayong to Chanthaburi provinces and the lowest part of the study area only mercury was high. Increasing of mercury level in the sediment was found in the past 10 years coincidently with the increasing of petroleum activities in the Gulf of Thailand. With regard to Sediment Quality Guidelines, mercury and arsenic levels in the sediments of the Gulf of Thailand were considered as low as no toxic to biota.en
dc.language.isothen
dc.publisherสำนักงานฝ่ายฝึกอบรม ศูนย์พัฒนาการประมงแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้en
dc.subjectดินตะกอนen
dc.subjectสารอินทรีย์en
dc.subjectขนาดตะกอนen
dc.subjectปรอทen
dc.subjectสารหนูen
dc.subjectsedimenten
dc.subjectorganic matteren
dc.subjectgrain sizeen
dc.subjectmercuryen
dc.subjectarsenicen
dc.titleลักษณะทางตะกอนวิทยาและการปนเปื้อนของปรอทและสารหนูในดินตะกอนอ่าวไทย (Sedimentological Characteristics and Contamination of Mercury and Arsenic in Sediment of the Gulf of Thailand)en
dc.typeConference paperen
dc.citation.spage64en
dc.citation.epage71en
dc.citation.conferenceTitleการสัมมนาวิชาการเรื่อง "ผลการสำรวจทรัพยากรประมงและสิ่งแวดล้อมทางทะเลในบริเวณอ่าวไทยตอนกลางโดยเรือสำรวจซีฟเดค ปี 2556"en


Files in this item

Thumbnail

รายการนี้ปรากฏใน (s)

แสดงระเบียนรายการที่เรียบง่าย